1 : น้อมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต โดยมี “เหตุผล” เป็นเครื่องนำทาง
เหตุผลเป็นผลผลิตของปัญญา ดังนั้น จึงต้องรั ก ษ า ศีลเสียก่อน และมีสติ สมาธิผลสุดท้ายจะทำให้เกิดการพิจารณา
โดยใช้ปัญญาเป็นที่ตั้ง เมื่อดำเนินทุกอย่ างด้วยเหตุด้วยผล ก็จะเกิดความพอเพียง
2 : อย่ าลืมเอาจิตไปพักผ่อน บ้าง
หลายคนเมื่อเกษียณแล้ว มักใช้เวลาหาแต่ความสุขทาง “กาย” พากายไปเที่ยว ไปพักผ่อน ไปสูดอากาศไปกินอาหารดีๆ
แต่กลับละเลยไม่คิดที่จะเอาจิตไปพักผ่ อ น ทั้งที่กายกับจิตนั้นสัมพันธ์และมีอิทธิพลต่อกัน ดร.สุเมธบอกว่า โดยส่วนตัว
ทุกครั้งที่มีจังหวะได้พักผ่ อ น เว้นวรรคชีวิตนานๆจึงมักถือโอกาสเอาจิตไปพักด้วยการบวช ครั้งล่าสุด บวชตอนอายุ 65
เป็นพระสายวัดป่าอยู่ที่สกลนคร
3 : ใช้ชีวิต อย่ างมี “สติ”
ไม่ว่าจะเป็นการมีสติในการกิน แทนที่จะกินตามใจปาก สนองความอย า กของตัวเอง แล้วต้องให้ห ม อ จ่ายย า ลดไขมัน
ลดน้ำตาล ทำไมเราไม่ลองหันมาลดที่ “ปาก” ของตัวเอง ด้วยการใช้สติในการพิจารณาอย่ างมีเหตุมีผลทุกครั้งในการกิน
4 : ฝึกการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน ด้วยหลัก “ทาน” ของทศ พิธราชธรรม
เกษียณแล้ว อย่ าเอาแต่อยู่บ้ า นเฉยๆ แต่ให้พย า ย า มหาเรื่องช่วยคนโน้นคนนี้เท่าที่ร่ า ง ก า ย ของเราจะทำได้ รักษา
ร่ า ง ก า ย ให้แข็งแรง เพื่อทำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น
5 : ฝึกระลึกถึง “มรณานุสติ”
ใครๆ ก็เสียชีวิต ได้ ไม่ว่าใครก็ต้องเจอการจาก เท่าเทียมกันหมดทุกคนเมื่อมองเห็นการเสียชีวิต เป็นเรื่องธรรมดา
จะทำให้เรานิ่งกับการจากไป
6 : อยู่อย่ างสง่า จากไป อย่ างสงบ
ตอนมีชีวิตอยู่ต้องมีความสง่างามในตัวเอง ทุกอย่ างต้องช่วยเหลือตัวเองได้ ใครเห็นก็ให้ความเคารพนับถือและเมื่อถึงเวลา
จากไป ก็ จากไป อย่ างสงบ อย่ าไปกลัวการจากไปแบบไม่มีวันกลับ จะยิ่งใหญ่แค่ไหน เมื่อจากไป แล้วเกียรติยศเงินทอง
สะสมไว้แค่ไหนก็ต้องส่งคืนหมด สิ่งเดียวที่เหลือไว้ คือ ความเป็นตัวตนของเรา ถ้าประกอบคุณงามความดีไว้คนก็ยังนึกถึง
แต่ถ้าประกอบความชั่ ว ไว้มาก คนก็ยังด่าทอไปจนถึงลูกหลาน
7 : ร่าเริง รื่นเริง คึกคัก ครึกครื้น
คาถาที่ว่านี้ ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงรับสั่งเสมอ เ พ ร า ะจิตเป็นเรื่องสำคัญต้องมีอารมณ์ขันอยู่ตลอดเวลา มองเห็น
ทุกอย่ างเป็นเรื่องสนุก จึงจะสามารถทำงานได้สำเร็จรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเมื่อตัวเราร่าเริง ยิ้มแย้มแจ่มใส
บรรย า กาศรอบตัว คนรอบข้างที่อยู่กับเราก็รื่นเริงไปด้วย
8 : อักโกธะ หรือ ความไม่โกรธ
เป็นอีกหลักข้อหนึ่งในทศ พิธราชธรรม เ พ ร า ะเมื่อโกรธแล้ว มักจะเสียหายหากคุมอารมณ์ไม่อยู่ในเรื่องไร้ส า ร ะ
เมื่อไหร่ก็ตามที่มีเรื่องมากระทบใจ แค่ลองพลิกอารมณ์มองให้เห็นเป็นเรื่องสนุกๆ เท่านี้ทุกอย่ างก็จบ
9 : อวิโรธนะ คือ การดำรงอยู่ในความถูกต้องเสมอ
เป็นหลักทศ พิธราชธรรมที่ต้องรั ก ษ า ให้มั่น หากอย่ างปฏิบัติตามในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยยึดหลักธรรมะที่ต้องมีทั้งสอง
อย่ าง คือ ทั้งความดีและความถูกต้อง เ พ ร า ะบางอย่ างดีแต่ไม่ถูกต้อง บางอย่ างถูกต้องแต่ไม่ดีการกระทำของเราต้อง
ตรวจสอบอยู่ตลอดเวลา เป็นธรรมหรือเปล่า นั่นคือ ดีและถูกต้องหรือเปล่า
10 : รั ก ษ า กายและจิต
ผู้สูงอายุต้องรั ก ษ า กายให้ดี เ พ ร า ะเงินทองไม่มีประโยชน์ เอาแค่พอเพียงต่อชีวิตความเป็นอยู่ ที่เหลือเป็นส่วนเกินที่
เราไม่ได้ใช้เรื่องจิตก็สำคัญเช่นกัน ต้องโปร่งใส อย่ าไปขุ่นมัวโดยที่ไร้ประโยชน์คำนึงไว้ว่า เวลาอยู่ในโลกนี้สั้นแล้ว
ดังนั้น อย่ าเสียเวลาเป็นทุกข์ แต่ให้ Enjoy last minute
11 : ใช้ชีวิตโดยรั ก ษ า ความเป็นธรรมดาเอาไว้
อย่ ายึดติดยศถาบรรดาศักดิ์ แต่ให้ทำชีวิตอยู่อย่ างธรรมดา เรียบๆ ง่ายๆเ พ ร า ะจะยิ่งใหญ่มาจากไหน เกษียณแล้ว
ทุกอย่ างสูงสุดคืนสู่สามัญ ไม่ต้องเป็นวีไอพีหรอก เ พ ร า ะจะเป็นวีไอผีอยู่แล้ว
12 : ยึดถือคำว่า “ประโยชน์สุข” เป็นเป้าหมายของชีวิต
อะไรไม่มีประโยชน์อย่ าทำ อย่ าคิดทำ ให้ทำแต่สิ่งที่มีประโยชน์ ผลสุดท้ายสิ่งที่เราจะได้รับคือความสุขแง่คิดดีๆ จาก
ดร.สุเมธ ทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นว่าคุณค่าและความสุขในชีวิตไม่ได้ขึ้นอยู่กับตัวเลขอายุ แต่อยู่ที่ไลฟ์สไตล์และหัวใจ
ที่ไม่มีคำว่าเกษียณ
ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “สูงวัยอย่ างมีคุณค่า น้อมพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง”
ในงานประชุมวิชาการประจำปีที่ประชุมผู้บริหารองค์กรของรัฐที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเฉพาะ(ทอพ.)“ประชารัฐร่วมใจ
สู่สังคมสูงวัยอย่ างมีคุณภาพ”