1. รู้ตัวเองว่ามีอะไรมากกว่ากัน
ระหว่าง “ทรัพย์สิน” หรือ“หนี้สิน” ที่มันมากกว่ากัน และถ้าเพื่อนๆ มีรายได้เดือนๆ นึง
หลักหลายหมื่นละก็ กลับมีรายจ่ายสูงพอๆ กัน สิ่งที่ควรใส่ใจอย่างแรกเลย คือ
ลิสต์รายการของทรัพย์สิน เปรียบเทียบกับหนี้สิน ที่มีทั้งหมดและถ้าถ้ามานั่งงง
ว่า.. เฮ้ยเราก็มีสินทรัพย์เยอะนะ อย่างเช่น มือถือรุ่นใหม่ๆๆ กล้องถ่ายรูปแพงๆ
แล้วทำไมยังจนอยู่มีแต่หนี้สิน คิดง่ายๆ เลยครับ มือถือ 1 เครื่องนั้น ราคาประมาณ 25,000 – 30,000 บาท
แต่ราค าข ายต่อนั้น มู ลค่ามันหายไปแทบจะครึ่งหนึ่ง เท่านี้ก็พอจะมองออกแล้วใช่ไหม
ว่าเพื่อนๆ ต้องเริ่มกลับมาวางแผน การเงินให้ตัวเองได้แล้ว
2. คุณต้องมีเงิน สำรองฉุกเฉิ น 6 เดือนเป็นอย่างน้อย
นั่นคือคิดจาก (รายจ่ายปกติ ต่อเดือน คูณ 6 เดือน = เงินสำรองฉุกเฉิ นที่ต้องมี)
เงินจำนวนนี้ มันจะช่วยให้เราสามารถรับมือ กับปัญหาด้านการเงินได้
โดยไม่ต้องกู้ยืมเ งินคนอื่น เพราะการกู้ยืมเงินนั้นอาจจะทำให้เรา
กลับเข้าไปอยู่ในวงจรที่เป็นหนี้อีกครั้ง
3. วางแผน เรื่องเกษียณหรือยัง
แก่ไม่ว่าแต่อย่าแก่ แบบไม่มีเงิน อย ากให้วางแผนเกษียณกันไวๆ ตั้งแต่เนิ่นๆ
ยิ่งเร็วยิ่งดี เพราะงั้น การเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้มันก็เพื่อผลประโยชน์
สำหรับเราเอง ไม่ต้องลำบ ากลูกหลานในอนาคต
4. เริ่มทยอยปลดหนี้ ให้หมดก่อนจะแก่ไปมากกว่านี้
เพราะไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ บั ต ร เ ค ร ดิ ต ผ่ อน สินค้า 0% ต่างๆ ยิ่งปลดหนี้เร็วเท่าไหร่
ยิ่งนำเงินไปต่อยอดได้มากขึ้นเท่านั้น ถ้ายังไม่แน่ใจ ว่าจะปลดหนี้ยังไงดี แนะนำให้เริ่มจากดูว่า
เรามีหนี้ทั้งหมดกี่ราย, จำนวนเงิน ที่เป็นหนี้ของแต่ละรายและอัตร าด อ กเบี้ ยจากนั้น
ให้จัดลำดับหนี้ ให้หนี้ที่มีอัตราดอ กเบี้ ยสูงสุด อยู่บนๆ และเริ่มต้นปลดหนี้จากก้อนนั้นก่อน
5. สร้างงบการเงิน ในแบบของตัวเอง
แม้จะหาเงินได้มากแต่ถ้าบริหารเงินไม่ดีเงินที่ได้มานั้น
ก็จะหายไปง่ายๆ เรียกว่า..“รวยเดย์ รวยกันแค่วันสิ้นเดือนเท่านั้น”
เพราะงั้น สิ่งที่เพื่อนๆ ต้องให้ความสนใจ ในลำดับถัดมา คือการสร้างงบรายจ่าย
ถ้าไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร ให้เริ่มต้นจากงบการเงิน 50 -30- 20 ดูสิ
ซึ่งมันก็คือ (สิ่งจำเป็น, สิ่งอย ากได้, ออมไว้เผื่อฉุ ก เ ฉิ น)
6. บริหารความเสี่ ย งเป็น
การมีสตินั้นมันจะช่วยให้เรา ผ่านทุกปัญหาได้เพราะสิ่งที่เรา จะพูดต่อไปนี้
คือเรื่องของความเสี่ ย ง ไม่ว่าคุณจะโสดหรือไม่ ความเสี่ ย งที่ควรพิจารณา ก็จะมีอยู่ 3 อย่าง คือ
6.1 ความเสี่ ยงด้านชีวิตและสุขภาพ : เริ่มด้วยการที่คิดว่าถ้าเราเจ็ บป่ วย
หรือเกิ ด เหตุ ไม่ค าดคิด ครอบครัวจะต้องลำบ ากแค่ไหน เพราะข าดกำลังสำคัญ
หากคำตอบ คือใช่ ฉะนั้นก็จงบริหารความเสี่ ย งโดยการซื้อประกั น
6.2 ความเสี่ ย งด้านทรัพย์สิน : คือถ้าเราหยุดทำงาน(ไม่ว่าจะลาออกหรือไม่ อย ากลาออก)
เรามีความพร้อมรึยัง ถ้ายังไม่มีอย่างแรกที่ควรทำคือ สำรองเงินฉุ กเฉิ น
ประมาณ 6 เดือนเอาไว้ก่อน
6.3 ความเสี่ ย งในการดำเนินชีวิต : อย่างถ้าเราขับรถแล้วเกิด อุ บั ติ เ ห ตุ
เรามีประกั น ภัยรถยนต์รึไหม ? และหากไม่มีจะซื้อไหม ? แล้วจะซื้ อประกันแบบใด ?
7. ก็ควรศึกษาเรื่องภ าษีได้แล้ว
เพราะยิ่งรายได้มากเราก็อย่าลืมว่าภ าษีนั้นมันต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัวอยู่นะ
เพราะมันถือเป็นกฎหมา ย ที่ทุกคนต้องปฏิบัติตาม สิ่งที่เพื่อนๆ ควรศึกษาคือกฎหม าย
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภ าษี พอเราถึงวัย 30 ปี นอกจากจะใช้ชีวิตให้
แข็งแกร่งขึ้นแล้ว ยังมีแนวโน้มที่เราจะโฟกัส ในสิ่งที่เราสนใจมากๆ
ทั้งตัดสิ่งที่ไม่จำเป็นออกไปให้ได้มากกว่าเดิมด้วย