Home ข้อคิดดำเนินชีวิต ลองวิธีนี้จะช่วยให้คุณพบว่าหนทางแห่งความร่ำรวยอยู่ไม่ไกลกว่าที่เราฝันเลย

ลองวิธีนี้จะช่วยให้คุณพบว่าหนทางแห่งความร่ำรวยอยู่ไม่ไกลกว่าที่เราฝันเลย

1 second read
0
1,455

เครื่องมือบริหาร รายรับ รายจ่าย 

การจัดการรายรับรายจ่ายนั้นเป็นหนึ่งในหัวใจหลักของผู้ที่ต้องการร่ำรวย เ พ ร า ะถ้าเราไม่รู้ว่าเงินของเราหายออกไปทางไหน

บ้าง หรือเงินเราเข้ามาทางไหนก็คงย ากที่จะเตรียมตัวรับมือป้องกันกับความเสียหายที่จะเกิดจากรายจ่ายที่เราไม่ทราบสาเหตุ

ได้การจัดการรายรับรายจ่าย ไม่ได้หมายถึงการที่เราต้อง “ประหยัด” จนเกินไปแต่หมายถึงการที่เราจะต้องจัดรายรับรายจ่าย

ให้เป็นหมวดหมู่ที่สามารถตรวจอ้างอิงได้ คล้ายกับการทำบริษัทนั่นแหละบริษัททั่วไปต้องมีบัญชีรายรับรายจ่ายตัวเราก็ต้อง

มีเช่นกัน หนทางแห่งความร่ำรวยนั้น จะต้องมีการวางแผนเรื่องรายรับรายจ่ายที่ดี คุณอาจจะไม่เชื่อแค่เพียงแต่เราแยกประ

เภทและทำการจดบันทึกรายรับรายจ่าย จะพบว่าเรามีรายจ่ายที่ไม่จำเป็นต่อชีวิตมากเพียงใด  เครื่องมือที่เราใช้ในการ

บริหารรายรับรายจ่าย นั้นเรียกว่า “งบประมาณหรืองบดุลส่วนตัว”   นั่นเอง

การทำงบประมาณหรืองบดุลส่วนตัว ก็คือ การจัดระบบข้อมูลทางการเงินของตัวเราเอง ด้วยการคาดคะเนรายจ่ายที่จะเกิดขึ้น

ในอนาคตให้สอดคล้องกับรายได้ของเรา เพื่อเป็นตัวรับประกันว่าเราจะมีเงินเหลือพอใช้ในอนาคต การทำอย่งนี้จะช่วยให้เรา

มีทิศทางที่แน่นอนในการดำเนินชีวิต เป็นหลักยึดให้เราไม่หลงทาง เพื่อมุ่งสู่ความร่ำรวยต่อไปในอนาคต

ขั้นตอนการทำ งบประมาณหรืองบดุลส่วนตัว

ขั้นตอนที่ 1 : ต้องรู้ที่มาของรายได้ การทำงบประมาณนั้นเริ่มต้นจากการ “รู้ที่มา” ของกระแสเงินสดก่อน เ พ ร า ะเป็นข้อมูล

เบื้องต้นที่จะใช้ทำนายความต้องการใช้เงินที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การทำงบประมาณจึงเริ่มด้วยการหาที่มาของเงินก่อนนั่นเอง

รายได้อาจจะมาได้จากหลายทางซึ่งส่วนใหญ่จะเห็นได้อย่ างชัดเจนและระบุเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้ เช่น เงินเดือนเงินค่าจ้าง

บำนาญ ค่าเช่า ดอกเบี้ยรับเป็นต้นแต่ยังมีรายได้อีกประเภทที่เอาแน่เอานอนไม่ได้ เช่น โบนัส ค่านายหน้า โอที เงินรางวัล

เป็นต้น ซึ่งเราจะต้องแยกรายได้ทั้งสองแบบนี้ให้ได้

ขั้นตอนที่ 2 : รวบรวมรายจ่าย การรวบรวมรายจ่ายเป็นเรื่องที่หลาย ๆ คนคิดว่าน่าเบื่อ และย ากต่อการจัดการ เ พ ร า ะราย

จ่ายนั้นมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ค่าน้ำค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ใบแจ้งยอดบัตรเครดิตรวมไปถึงทุกสิ่งทุกอย่ างที่เราซื้อมาด้วยเงิน

เราจะต้องจดบันทึกนึกให้ออกว่ารายจ่ายของเรานั้นมีอะไรบ้าง และต้องจัดรายจ่ายให้เป็นหมวดหมู่เพื่อการคาดคะเน

รายจ่ายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

หมวดหมู่หลัก ๆ ของรายจ่ายมีดังนี้

– อาหาร

– ที่พักอาศัย

– สาธารณูปโภค

– ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

– เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย

– พาหนะ

– ค่าสื่อสาร

– สุขภาพ

– บันเทิง พักผ่อน ท่องเที่ยว

– ของขวัญและการบริจาค

– การออม

– จิปาถะและเบ็ดเตล็ด

โดยทั้งรายรับและรายจ่ายนี้ หมายถึง เงินทุกบาททุกสตางค์ที่ได้รับมาและจ่ายออกไป เราจะต้องบันทึกเอาไว้อย่ าง

ละเอียด เ พ ร า ะว่าเรากำลังอยู่ในขั้นตอนการทำงบประมาณที่ตรงต่อความเป็นจริงมากที่สุดบางครั้งเราออาจคิดว่า

ค่าใช้จ่ายเล็กน้อยๆ คงไม่มีผลอะไรกับงบประมาณของเรา แต่เอาเข้าจริงแล้ว เมื่อนำมารวมกันอาจจะกลายเป็นเงิน

ก้อนใหญ่ที่เราคาดไม่ถึงเลยทีเดียว

ขั้นตอนที่ 3 : คาดคะเนรายจ่าย สองขั้นตอนที่ผ่านมาเป็นเรื่องของการย้อนมองไปในอดีต แต่ขั้นตอนนี้เรากำลังมองไป

ข้างหน้า เพื่อวางแผนทางการเงินของเราให้มั่นคงนั่นเองโดยส่วนใหญ่แล้วอาจจะมองไปข้างหน้ประมาณ 1 ปี แล้วลองทำ

บัญชีเงินเข้าออกดูโดยปกติแล้วการคำนวณจะใช้ปัจจุบันเป็นพื้นฐาน แต่เราต้องอย่ าลืมบวกอัตราเงินเฟ้อ หรือรายจ่าย

รายรับที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตด้วยเพื่อให้ได้บัญชีงบประมาณที่ไกล้เคียงความจริงมากที่สุดเพื่อให้ง่ายขึ้น เราควรแบ่ง

รายจ่ายในอนาคตออกเป็นหมวดหมู่ 3 ประเภทดังนี้

1 : รายจ่ายที่เกิดขึ้นเป็นประจำ คือ รายจ่ายที่คงที่แต่ละเดือนหรือแต่ละช่วงเวลา เช่า ค่าเช่าบ้าน ค่าประกัน ค่าผ่อนรถ

ผ่อนบ้าน เป็นต้น

2 : รายจ่ายที่มีการผันแปร คือ รายจ่ายที่คาดเดาย ากที่สุด เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น ค่าอาหาร ค่าน้ำ

ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ หรือ ค่ารักษาพย าบาล เป็นต้น

3 : รายจ่ายพิเศษ  คือ รายจ่ายเฉพาะกิจที่เราควบคุมได้ เ พ ร า ะเราสามารถที่จะกำหนดได้เองว่า จะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ และ

จะจ่ายเท่าไหร่ เช่น ค่าท่องเที่ยว ค่าของขวัญ ค่าเครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

ขั้นตอนที่ 4 : ทำสรุปงบประมาณ เมื่อเรารวบรวมข้อมูลทั้งหมดได้แล้ว สิ่งที่ต้องทำต่อไปก็คือการลงมือทำงบนั่นเอง โดย

เราสามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยได้ ที่ง่าย ๆ ก็ได้แก่ Microsoft Excel นั่นเอง ไม่ว่าจะเป็นการทำบนกระดาษหรือ

เป็นการทำบนคอมพิวเตอร์ ให้เราลองตีตารางงบประมาณ ตามตัวอย่ างดังนี้ รายการประเภทจำนวนเงินอาหารค่ากับข้าว

ผันแปร 100 บาททานอาหารนอกบ้านพิเศษ 1000 บาทสาธารณูปโภคค่าน้ำผันแปร 1500 บาทค่าไฟผันแปร 450 บาท

ที่พักอาศัยค่าผ่อนบ้านประจำ 25000 บาทค่าเฟอร์นิเจอร์ประจำ 5000 บาท

บันทึกรายรับและรายจ่ายของเราให้หมด แล้วนำรายรับ ลบกับ รายจ่าย เพื่อดูว่า “มีเงินเหลือเท่าไหร่” เ พ ร า ะงบประมาณ

ที่ดีจะต้องมีความยืดหยุ่น และ ต้องมีเงินสำรองเพียงพอ หารเราต้องเผชิญกับรายจ่าย ฉุกเฉินหรือการคาดคะเนรายจ่ายที่

คลาดเคลื่อนแต่ถ้า งบประมาณเกิด “ติดลบ” นั้น ก็อย่ าพึ่งตกใจว่าปีหน้าเราจะไม่มีเงินใช้ ให้เราลองกลับไปดูอีกครั้งแล้ว

พิจรณาว่า จะตัดค่าใช้จ่ายส่วนไหน หรือจะเพิ่มรายได้อย่ างไรดี

ขั้นตอนที่ 5 : ติดตามและปรับปรุงงบประมาณ สำหรับขั้นตอนสุดท้ายนี้ เป็นการตรวจสอบว่า เราคาดคะเนรายรัยรายจ่าย

ได้ดีแค่ไหน หรือเราควบคุมค่าใช้จ่ายได้ตามที่วางแผนไว้หรือเปล่าเ พ ร า ะเมื่อทำงบเสร็จแล้วก็ต้องอย่ าลืมติดตามผลด้วย

ในบางครั้ง การทำงบประมาณของเราอาจจะมีความผิดพลาด และ ไม่ถูกต้องเอาซะเลย อย่ าเพิ่งท้อใจไปเสียก่อนเ พ ร า ะ

การทำงบประมาณ ไม่ใช่เรื่องง่ายและไม่ใช่สิ่งที่จะทำสำเร็จได้ในครั้งเดียวแต่ต้องอาศัยการเอาใจใส่และปรับปรุงอยู่เรื่อยๆ

จนกว่าจะควบคุมการไหลของเงินได้ อย่ างไรก็ตาม หากต้องการที่จะร่ำรวยก็ต้องทำให้การทำงบประมาณสัมฤทธิ์ผลอย่ าง

เต็มที่ ควรมีวินัยในการใช้จ่าย ให้อยู่ภายในจำนวนเงินที่กำหนดไว้เหตุผลเพียงแค่ “อย ากได้”

ไ ม่ ไ ด้ เป็นปัจจัยให้เราแก้ไขงบประมาณได้โปรดควบคุมการใช้เงินของเราตั้งแต่วันนี้เพื่อชีวิตที่ดีกว่าวันหน้านั่นเอง

หลาย ๆ คนที่ทำสำเร็จ ยืนยันมาแล้วว่า เมื่อเราเห็นตัวเลขค่าใช้จ่าย จะพบว่าเราจ่ายเงินไปกับสิ่งไร้สาระมากแค่ไหน

บางคนแค่เลิกกินกาแฟอย่ าเดียวก็มีเงินเพิ่มขึ้นมากโขเราจะต้องใช้แรงกระตุ้นเรื่องความเป็นอยู่สุขสบายในอนาคต

มาเป็นแรงหลักที่ทำให้เราก้าวไปยังเป้าหมาย เราต้องรู้จักจริง ๆ ว่า ค่าใช้จ่ายอันไหนจำเป็น อันไหนฟุ่มเฟือย และ

อันไหนที่เราสามารถตัดออกไปได้ โดยใช้แค่การห้ามใจเราแค่นั้นเอง

ลองทำดู แล้วเราจะพบว่าหนทางแห่งความร่ำรวยอยู่ไม่ไกลกว่าที่เราฝันเลย

Load More Related Articles
Load More By Life
Load More In ข้อคิดดำเนินชีวิต
Comments are closed.

Check Also

ผู้ประเสริฐ ผู้ยอดเยี่ยม นี่แหละคือสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์สำหรับลูกๆ

ชาย ผ้ า ถุ ง ของแม่ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แม้ไม่ต้องปลุ … …