Home ข้อคิดดำเนินชีวิต 6 พฤติกรรมที่ “พ่อแม่รังแกฉัน” ทำไปโดยไม่รู้ตัว

6 พฤติกรรมที่ “พ่อแม่รังแกฉัน” ทำไปโดยไม่รู้ตัว

0 second read
0
11,901

การเลี้ยงลูกอย่ างตามใจจนเกินไป ทำให้เด็ กที่ถูกตามใจจากพ่อแม่กลายเป็นเด็กสปอยล์

หรือเรียกได้ว่าการที่พ่อแม่สปอยล์ลูก (Spoil) คือ การทำให้เด็ กเสี ยคน หรือตามใจลูกจน

เกินไปนั่นเอง คุณพ่อคุณแม่อาจมองว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่จะส่งผล ร้ า ย ต่อเด็ กได้ใน

อนาคต วันนี้เราขอพาส่องว่ามีพฤติก ร ร มแบบไหนบ้างที่พ่อแม่รังแกฉัน ทำ ร้ า ยลูกแบบไม่รู้ตัว

1.ตามใจลูกมากเกินไป

ตามใจในที่นี้ก็คือ การปล่อยให้ลูกอย ากทำอะไรก็ทำ

โดยไม่คำนึงถึงความถูกต้อง ทั้งๆที่รู้ว่าหากปล่อยลูก

ให้ทำแบบนี้เป็นสิ่งที่ไม่ดี ก็ยังตามใจลูกให้ทำและไม่

สอนลูกในสิ่งที่ควรหรือไม่ควรทำ โดยคิดว่าเมื่อโตขึ้น

ลูกจะเรียนรู้ถูกผิดได้เอง ซึ่งความคิดในการเลี้ยงลูกด้วย

วิธีนี้เป็นสิ่งที่จะทำให้ลูกติดนิสัยไปจนโตได้ เพราะเด็ ก

ยังไม่รู้จักการแยกแยะด้วยตนเอง ดังนั้นพ่อแม่จึงไม่

ควรปล่อยลูกให้หรือตามใจลูกจนเกินพอดี และควร

จะเป็นฝ่ายที่สอนลูกก่อนจะสายเกินไป

2.ให้ท้ายลูก ให้อภัยลูกแบบผิด ๆ

คุณพ่อคุณแม่ควรเลิกคำพูดติดปากว่า… เขายังเด็ ก

อย่ าถือสาเด็กเลย เพื่อปกป้องเวลาลูกเวลาทำผิด

โดยไม่สนใจเหตุผล ควรสอนให้ลูกทราบถึงเหตุผล

และยอมรับความจริง หากทำผิดต้องขอโท ษ และ

ไม่ทำผิดซ้ำอีก เพราะยิ่งถ้าสอนลูกตั้งแต่ยังเล็กจะ

ง่ายกว่าสอนตอนเด็ กโตแล้ว นอกจากนี้คุณพ่อคุณ

แม่ควรพูดและปฏิบัติกับลูกในมาตรการที่ตรงกัน

เพื่อไม่ให้เด็ กเกิดความสับสน

3.เอาใจเกินพอดี

เอาใจเกินพอดี ตอบสนองลูกด้วยการให้มากเกินไป

ทั้งวัตถุและสิ่งของ เพราะหวังจะให้ลูกมีความสุข แต่

กลายเป็นว่าสิ่งที่พ่อแม่นั้นกลับส่งเสริมให้ลูกไม่รู้จัก

พอ ไม่รู้จักความย ากลำบากและการอดทนรอคอย

ไม่ยอมรับกับความผิดหวัง ไม่เห็นคุณค่าของสิ่งที่

ได้มา กลายเป็นเด็ กเอาแต่ใจตัวเอง และสุดท้าย

ลูกก็จะไม่มองเห็นคุณค่าของคนอื่นด้วย

4.เข้มงวดกับลูกมากไป

หากคุณเลี้ยงลูกแบบเข้มงวดมากเกินไป ก็อาจจะ

ทำให้ลูกกลายเป็นเด็ ก ขี้ กลั ว ไม่กล้าตัดสินใจอะ

ไรเอง ไม่มีความมั่นใจในตัวเอง เพราะอะไรที่มันมาก

เกินไป ผลลัพธ์ที่ได้มักจะไม่ดีเสมอ ดังนั้นถ้าไม่อย าก

ให้ลูกกลายเป็นเด็ กมีปัญหา ลองปล่อยให้ลูกได้คิด

ในการตัดสินใจและได้ทำอะไรด้วยตัวเองดูบ้าง

5.แสดงพฤติกรรม แ ย่ ๆ ให้ลูกเห็น

เด็ กเล็ก ๆ มักจะมีพฤติกร รมการลอกเลียนแบบ

คนใกล้ตัว ดังนั้น ถ้าพ่อแม่ทำไม่ดีต่อหน้าลูกก็จะ

ทำให้ลูกเลียนแบบนิสัยไม่ดีของพ่อแม่ไปได้ ดังนั้น

ไม่ว่าจะเป็นคำพูดหรือการแสดงออก หากไม่อย าก

ให้ลูกทำไม่ดี ก็ไม่ควรทำให้ไม่ว่าจะอยู่ต่อหน้าหรือ

ลับหลังลูก

6.ลงโท ษลูกหนักเกินไป

เชื่อว่าพ่อแม่ทุกคนอย ากให้ลูกเติบโตมาเป็นคนที่ดี

ของสังคม เด็ก ๆ ควรได้รับการลงโท ษเมื่อทำผิดเป็น

เรื่องที่ถูกต้องแล้ว แต่วิธีการลงโทษก็ควรเหมาะสม

กับความผิดของลูกด้วย เพราะบางครั้งลูกอาจทำผิด

ด้วยความไม่รู้ จึงไม่จำเป็นต้องลงโท ษทุกครั้ง แต่

เริ่มต้นลูกด้วยการตักเตือน อธิบายให้ลูกเข้าใจถึง

ความผิด และถ้าหลังจากนั้นลูกยังดื้ อทำผิดซ้ำๆ อีก

ก็ควรหาวิธีลงโท ษลูกด้วยความเหมาะสมกับวัยหรือ

ความผิดโดยหลีกเลี่ยงการใช้ความรุ น แ ร ง

:: อาการของเด็ กเมื่อถูกสปอยล์มากเกินไป

– อารมณ์ร้อน เกรี้ย วกร าด

บ่อยครั้งลูกมักแสดงอาการฉุนเฉียว

กรีดร้อง โ มโ ห ร้ า ย อยู่บ่อยครั้ง

– ก ร ะ ทื บเท้า ปิดประตูเสียงดัง

ลูกมีอารมณ์ โ ม โ ห ร้ า ย อยู่บ่อยครั้ง มักระบาย

อารมณ์ผ่านทางการทำล า ยข้าวของต่าง ๆ

– ต้องมีข้อแลกเปลี่ยนเสมอ

เมื่อคุณพ่อคุณแม่ต้องการให้ลูกทำอะไร มักสร้าง

เงื่อนไขเพื่อเป็นแรงจูงใจให้ลูกปฏิบัติตาม แต่หาก

ทำบ่อยครั้งอาจไม่เป็นผลดีต่อเด็ กได้ เพราะต้องสอน

ให้ลูกรู้จักหน้าที่ มีระเบียบวินัยและสิ่งที่ต้องทำ

– หวงของ

คุณควรสอนให้เขารู้จัก แ บ่ ง ปั น สิ่งต่าง ๆ จะช่วย

พัฒนาทักษะ ทางด้านอารมณ์และจิตใจ

**คำแนะนำที่ช่วยให้เลี้ยงดูเด็ กแบบไม่สปอยล์ลูก

กำหนดขอบเขตที่เหมาะสมกับวัยของลูกเพื่อให้เด็ก ๆ ใช้ชีวิตได้อย่างเต็มที่

โดยคุณพ่อคุณแม่สามารถเริ่มได้ตั้งแต่ในช่วงวัยเตาะแตะ

– กำหนดขอบเขตด้านความปลอดภัย ภายนอก

ตัวอย่ างเช่น “ อย่ าแตะต้องเตาร้อน ” และ “ อย่ าวิ่งเข้าไปในถนน ”

ถ่ายทอดสิ่งที่เป็นที่ควรทำและไม่ควรทำ พูดคุยถึงเหตุผล บอกถึงปัญหา

ที่จะตามมาหากทำสิ่งนั้น และเสริมสร้างพฤติกร ร มทางสังคมเชิงบวกใน

ลักษณะเดียวกัน สั่งสอนลูกถึงสิ่งที่ควรปฏิบัติ เช่น กล่าวขอโทษและขอบคุณ

หรือเล่นอย่ างอ่อนโยนกับเพื่อน ควรหมั่นเสริมสร้างพฤติกร รมเชิงบวกให้ลูก

มากกว่าพฤติกรรมเชิงลบ

– พูดคุยกับลูกอย่างเปิดเผยและมีเหตุมีผล

เกี่ยวกับพฤติกรร มเมื่อพวกเขาโตขึ้น เด็ กในวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถ

เข้าใจคำพูดได้ดีกว่าเด็ กเล็ก ดังนั้น ให้พย าย ามคิดพูดคุยปัญหาร่วมกัน

เช่นเมื่อลูกทำผิด ให้คุณพ่อคุณแม่ถามลูกว่า “ ทำไมลูกถึงทำเช่นนี้ล่ะ ”

เด็ก อาจไม่สามารถบอกคุณได้ แต่ถ้าพูดว่า “ พ่อ/แม่สงสัยว่าทำไมสิ่งนี้

ถึงเกิดขึ้นอีก ” คำถามปลายเปิดอาจทำให้ลูกรู้สึกสะดวกใจ และเล่าให้ฟัง

อย่ างไม่เกร็ งได้ คำตอบของลูกในบางครั้งอาจทำให้แปลกใจก็เป็นได้

– อยู่ในความสงบ ระงับสติอารมณ์

เมื่ออารมณ์เสี ย แม้แต่ผู้ใหญ่เอง ก็อาจแสดงพฤติก รรมที่ไม่ดีออกมา

จะทำให้คุณพ่อคุณแม่รู้สึก แ ย่และควบคุมตัวเองไม่ได้ และการแสดง

พฤติกร รมไม่ดีเหล่านี้ ไม่ได้สอนให้เด็ กมีพฤติกร รมดีขึ้น แถมอาจทำ

ให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบอีกด้วย

– คงเส้นคงวา เป็นตัวอย่ างที่ดีให้ลูกอย่ างสม่ำเสมอ

– มีกฎระเบียบร่วมกันที่ดี

เพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขครอบครัว คือจุดเริ่มต้นของสังคม จึงควร

มีกฎที่อยู่ในข้อตกลงร่วมกัน เพื่อให้ลูกปฏิบัติตามและแจ้งให้ทราบว่าถ้า

ลูกไม่ปฏิบัติตามจะมีผลตามมาสำหรับพฤติกร รมบางอย่าง เช่น ถ้าลูกเล่น

ของเล่นแล้วไม่เก็บ แม่จะเก็บของนี้แล้วไม่ให้เล่นอีกนะ หรือวางของเกะกะ

อาจทำให้เกิด อุ บั ติ เ ห ตุ ได้ เป็นต้น

Load More Related Articles
Load More By kondee
Load More In ข้อคิดดำเนินชีวิต
Comments are closed.

Check Also

รถสี่คัน กับครูแปดคนที่ต้องเจอในชีวิต (ให้ข้อคิดดีมาก)

“ รถสี่คันในชีวิต ” รถเข็นเด็ก รถจักรยาน รถยนต์ รถเข็นค … …