1. แยกกระปุกไว้เลย
ถ้ารู้ว่าตัวเองนั้นเป็นคนชอบเที่ยว แนะนำวิธีนี้เลย
ก็คือ มีหลายๆกระปุก แล้วแปะป้ายชื่อแต่ละกระปุก
เอาไว้เลยว่าจะไว้ทำอะไร เช่น ไว้ไปมัลดีฟ ไปเที่ยว
สวิตเซอรืแลนด์ ไปเชียงใหม่ ไปภูเก็ต รับรองว่าวิธีนี้
พอถึงเวลาไปเที่ยว เราก็จะมีเงินพอโดยไม่ต้องไป
รบกวนเงินเดือนนั้นๆเลยแหละ
2. เก็บแบงค์ใหม่ ไม่ใช้
หากวันนั้นเราเจอแบงค์ใหม่ แบบที่ว่ายังไม่เคยมีใคร
ได้ใช้มันมาก่อน รีบเก็บเข้ากระเป๋าไว้เลยยย แต่ถ้าเจอ
แบงค์ใหญ่ๆ อย่า ง 500 หรือ 1000 หากว่าเราจำเป็น
ต้องใช้ คิดว่าไม่สา่รถเก็บมันได้จริงๆ ก็ให้เราเลือกเก็บ
แบงค์เล็กๆอย่าง แบงค์ 20 หรือแบงค์ 50 แบงค์ 100
ก่อนก็ได้ ถือว่าเป็นการเริ่มต้นที่ดีในการออมเงิน
3. หั กจากเศษของเงินเดือน
สมมุติว่าเรานั้นได้เงินเดือน 18,860 บาท ลองหัก 860
บาทออกมาเก็บไว้ดูซิ ถือเป็นฤกษ์งามย ามดีของการ
เริ่มต้นของการเก็บเงินวันแรกของเดือนก็ได้นะ
4 .แบงค์ 50 เก็บไว้ไม่ใช้
ถ้าเราไปซื้อของจากแม่ค้า แล้วได้เงินทอนมาเป็นแบงค์
ห้าสิบเมื่อไร ท่องไว้เลยไว้ ห้ามใช้เด็ ดข าด ลองเก็บดู
ซักเดือน สองเดือน แล้วมานับตอนสิ้นเดือน รับรองได้
หลายบาทแน่นอน
5. เก็บเข้ากระปุกเท่ากับข้าวกลางวันทุกมื้อ
เมื่อเราจ่ายค่าข้าวกลางวันออกไป หรืออกไปทานข้าว
ข้างนอก เราใช้เงินไปเท่าไหร่ ก็ให้เราเก็บหยอดกระปุก
กลับไปเท่ากับค่าข้าววันนั้น ห้า มมีข้ออ้ างเก็บน้อยกว่า
เด็ ดข าด หลายคนอาจจะคิดว่า จำนวนไม่เยอะหรอก
แต่ครบเดือนลองมานับดู แล้วคุณจะอึ้ง!
6. แบ่งเงินใส่ถุง
วิธีนี้หลายคนน่าจะคงเคยเห็นมาแล้ว แต่ยังไม่เคยลอง
ลงมือทำ แต่มันเป็นวิธีที่ได้ผลจริงๆนะ เพราะวิธีนี้นั้นจะ
ทำให้เรารู้ลิมิตการใช้เงินในแต่ละวัน และวางแผนการ
ล่วงหน้าได้ แบบปลายเดือนไม่มีทางช๊อตแน่นอน
7. เก็บเศษเหรียญ
ในแต่ละวัน ถ้าเราได้เหลือเหรียญเท่าไหร่ ลองเอามา
หยอดออมสินให้หมด เก็บเงินเหรีญ อาจต้องใช้กระปุก
ใหญ่หน่อย เพราะเงินเหรียญที่เหลือใช้ในแต่ละวันนั้น
ค่อนข้างเยอะมากๆ เดือนนึงคุณอาจเก็บได้ถึงพันบาทเชียวนะ