Home ข้อคิดดำเนินชีวิต ชีวิตเราต้องทำงานเพื่อให้ได้เงิน กับ 8 แนวคิดพลิกชีวิตการเงิน

ชีวิตเราต้องทำงานเพื่อให้ได้เงิน กับ 8 แนวคิดพลิกชีวิตการเงิน

4 second read
0
2,536

8 แนวคิด พลิกชีวิตการเงิน

ปฎิเสธไม่ได้เลยค่ะว่า ความเป็นไปของชีวิตเรา ส่วนหนึ่งถูกกำหนดมาจากเงิน ชีวิตเราต้องทำงานเพื่อให้ได้เงิน

ประเด็นคือ แล้วเงินที่เราได้มานั้น ถูกนำไปจัดสรรบริหารอย่ างถูกต้องจริงหรือไม่ ?วันนี้ เราขอเสนอ 8 แนวคิด

พลิกชีวิตการเงิน เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานในการใช้เงินค่ะ

1 : ทรัพย์ที่มีค่าที่สุด คือ ตัวเราเอง

เมื่อถึงวัยเกษียณอายุ หลายคนเกษียณพร้อมกับเงินก้อนโต ตามระดับความสามารถของตน ตามตำแหน่งหน้าที่

การงานที่สิ้นสุดลง เป็นเงินก้อนสุดท้ายที่ใช้ดำเนินชีวิตหลังเกษียณ ช่วงชีวิตที่ไม่มีรายได้อีกต่อไป แน่นอนว่า

โอกาสที่เราจะใช้เงินย ามชราแบบสบาย ๆ เป็นเรื่องที่ย าก เมื่อถึงเวลานั้น ความคิดที่ว่า จะใช้เงินส่วนนี้ไปกับ

การเดินทางท่องเที่ยวทั่วโลก คงเป็นเพียงเรื่องลม ๆ แล้ง ๆ เ พ ร า ะนอกจากการใช้จ่ายอยู่กินแล้วยังมีเรื่อง

สำคัญที่หลีกเลี่ยงได้ย ากอย่ างการรักษาอาการเจ็บป่วย โอกาสที่เงินก้อนนั้นของคุณจะกลายเป็นค่ารักษา

พย าบาลตัวเองจึงสูงมาก

ดังนั้น การดำเนินชีวิตแบบสมดุลทั้งกายและใจเป็นเรื่องสำคัญที่สุด รักษาสุขภาพ การกิน การออกกำลังกาย

ให้เหมือนกับ การรักษาเงินทองในธนาคาร

2 : ความสามารถในการสร้างรายได้ vs รายจ่าย

หลายครั้งที่เราใช้จ่ายเงินออกไปโดยไม่รู้ตัว เป็นเ พ ร า ะไม่ทราบต้นทุนด้านเวลาของตัวเอง

ยกตัวอย่ างเช่น เงินเดือน 20,000 บาท เวลางาน 176 ชม.ต่อเดือน (= 22วัน x 8ชม) เฉลี่ยรายได้

114 บาทต่อชม. ( = 20,000/176) แสดงว่าการกินบุฟเฟ่ต์ปิ้งย่ างราคา 500 บาทในเวลาชั่วโมงครึ่ง

ต้องแลกกับการทำงานครึ่งวัน เป็นต้น

การเปรียบเทียบความสามารถทางรายได้กับสิ่งที่เรากำลังจะใช้จ่ายไป ในหน่วยเวลาเหมือนกัน จะช่วยดึง

สติการใช้จ่ายไม่เป็นเหตุเป็นผลของเรากลับมาได้ลักษณะนี้ยังสามารถ ประยุกต์ใช้กับการว่าจ้างคนงาน

ในลักษณะงานไม่สำคัญ เช่น การทำงานบ้าน การทำงานที่เสียเวลาและไม่มีความสำคัญ เป็นต้น

หากการจ้างงานนั้นมีต้นทุนที่ถูกกว่าการเสียเวลาลงมือทำเอง เ พ ร า ะจากชั่วโมงเดียวกัน เราสามารถ

ใช้ให้ก่อประโยชน์เกิดรายได้ที่สูงกว่าค่าจ้างที่เราจ่ายไป

3 : ระดับเงินกับระดับความสุขไม่เกี่ยวข้องกันเสมอไป

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันที่ทุกอย่ างทำให้ดูเหมือนว่า ชีวิตนี้จะต้องรวยเท่านั้น ถึงจะสบายได้ สร้างภาพลวงตาว่า

มี เ งิ น มากขึ้น จะทำให้เรามีความสุขมากขึ้น สังเกตได้จาก รายได้เฉลี่ยประชากรในตัวเมืองย่อมสูงกว่าพื้นที่

ชานเมืองออกไป

คำถาม คือ คนที่ย้ ายเข้ามาทำงานในเมืองมีความสุขเพิ่มขึ้นหรือไม่ ?

คำตอบ คงสะท้อนภาพการใช้ชีวิตคนเมืองที่ดูต้องเร่งรีบ รับแรงกดดันในการทำงาน และแข่งขันกับเวลาอยู่ตลอด

เวลา แสดงว่า รายได้ที่ได้รับเพิ่มมากขึ้น 20% ไม่ได้ทำให้ความสุขเพิ่มขึ้น 20% เลยสักนิด

ทั้งนี้ แน่นอนว่า เงินสามารถซื้อความสะดวกสบายและความปลอดภัยในชีวิตได้ และส่งผลต่อระดับความมั่นคง

ทางการเงินได้ แต่ไม่เสมอไปสำหรับความคิดที่ว่า ฉันจะได้รับความสุขมากขึ้น เมื่อฉันมีเงินมากขึ้น

4 : กระแสเงินสดไหลออกไปควรน้อยกว่ารายได้ที่ไหลเข้ามา

วิธีเดียวที่จะช่วยทำให้เกิดความมั่นใจในฐานะการเงินได้ คือ การมีเงินเหลือจนถึงสิ้นเดือน แสดงให้เห็นว่าแม้ว่า

สถานะการเงินตอนนี้ จะไม่มีเหลือเก็บออมหรือลงทุน แต่อย่ างน้อยก็ไม่ควรเป็นหนี้ การดำเนินชีวิตแบบใช้เงิน

อนาคตในสินทรัพย์จำเป็น เช่น บ้าน จริงอยู่ที่มันตอบสนองความต้องการด้านที่อยู่อาศัยได้ทันที แต่ก็อันตราย

หากต้องแบกรับภาระหนี้ก้อนโต ในช่วงที่ความสามารถทางการเงินยังมีไม่มากพอ

ดังนั้น กระแสเงินสด ไม่ว่าจะไหลเข้า หรือ ไหลออก จึงควรมาจากสิ่งที่วางแผนไว้ ไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญแบบ

ไม่มีที่มาที่ไปหรือไร้ประโยชน์การรักษาความสามารถทางการเงินจากการลดค่าใช้จ่ายในสิ่งไม่จำเป็น ประเมิน

และจัดลำดับความสำคัญทางการเงินอย่ างระมัดระวัง อาจจะสร้างความอึดอัดเล็กน้อยในวันนี้เพื่อความมั่นคง

ทางการเงินที่ดีในอนาคต

5 : ยิ่งลงทุนเร็ว ยิ่งสำเร็จเร็ว

หนึ่งในแนวคิดทางการเงินที่สำคัญที่สุด และเป็นความจริงที่เข้าใจได้อย่ างดีที่ว่า ยิ่งลงทุนเร็ว ยิ่งได้เปรียบใน

เรื่อ งประสบการณ์ความรู้และระยะเวลาที่ใช้ลงทุนในชีวิต แม้จะไม่ได้เป็นเรื่องง่ายแต่ก็เป็นประเด็นที่สามารถ

สร้างข้อแตกต่างระหว่างความย ากจนและความมั่งคั่งในอนาคตได้เ พ ร า ะพลังการทบต้นของผลประโยชน์

จ า ก ก ารลงทุนเป็นเรื่องอัศจรรย์ ดังนั้น อย่ ารอช้าในการเริ่มต้นวางแผนออมและลงทุนตั้งแต่อายุยังน้อย

เพื่อการเกษียณอายุจะไม่สายเกินไปในชีวิตการทำงานของเรา เริ่มต้นนิสัยของการลงทุนขั้นต่ำ 10%

ถึง 15% ของรายได้ทุกเดือน ไม่ว่าจะมีสิ่งใดเกิดขึ้นในชีวิตก็ตาม

6 : อย ากเปลี่ยนผลลัพธ์ ต้องเปลี่ยนวิธีทำ

ทำ สิ่ งเดิม ผลลัพธ์ย่อมออกมาแบบเดิมตามที่เคยได้รับ เปรียบเช่นเดียวกับ การทำพฤติกรรมทางการเงินผิด ๆ

เหมือนในอดีต ย่อมสร้างปัญหาการเงินอย่ างที่เคยเป็นมาในอดีดหากยังไม่หยุดคิดที่จะเริ่มปรับปรุงพฤติกรรม

ทางการเงินหรือสร้างความมั่งคั่งอาจจะต้องปรับทัศนคติใหม่อย่ างรุนแรงต้องลองอะไรที่แตกต่างไปจากเดิม

อย่ างสิ้นเชิง เช่น ย้ ายที่อยู่ใกล้ที่ทำงาน , ใช้รถคันเก่าแทนการเป็นหนี้รถคันใหม่ , การหางานใหม่ที่ให้

เงินเดือนที่ดีกว่าเดิม , เริ่มต้นธุรกิจหารายได้เสริม เป็นต้น

คนประสบความสำเร็จทั่วไปไม่ได้ฉลาดหรือโชคดีกว่าคนอื่น เพียงแต่พวกเขาเลือกใช้เวลาให้มีประสิทธิภาพ

มากที่สุด และเห็นคุณค่าการดำเนินชีวิตกว่าคนทั่วไป

7 : pay yourself first

ควรสร้างระบบตัดเงินอัตโนมัติจากบัญชีเงินเดือนของคุณ ทันทีที่มีเงินเดือนเข้า มันจะถูกตัดไปบัญชีเพื่อ

การลงทุน และบัญชีเงินออมก่อนเสมอ เช่น กองทุนรวม , บัญชีเงินฝากประจำ เป็นต้น เลือกเงื่อนไข

ตามความมีระเบียบวินัยในตัวเอง

8 : การเงินเริ่มต้นที่ปัจจุบัน และส่งผลต่ออนาคต

เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ขอเปรียบเทียบดังนี้ ในโลกธุรกิจ จะมีค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นมาแล้ว แต่ปัจจุบันก็ไม่ได้รับ

ประโยชน์ ที่เรียกว่า ต้นทุนจม (sunk cost )

สมมติว่า บริษัทขุดเจาะน้ำมัน ใช้งบลงทุนมากมายในการขุดเจาะค้นหาน้ำมัน ขุดไปลึกเท่าใดก็ยังไม่เจอน้ำมัน

สั ก ที ป ร ะเด็นที่เกิดขึ้น คือ จะยังขุดต่อไป หรือ เปลี่ยนตำแหน่งขุดใหม่ดี ? สะท้อนให้เห็นว่า การตัดสินใจ

ปัจจุบันขึ้นอยู่กับว่า ทำอะไรแล้ว จะเกิดสิ่งที่ดีที่สุดในอนาคต ไม่ได้ย่ำอยู่กับอดีตที่ผิดพลาดและเจ็บปวด

การเงินส่วนบุคคลก็เช่นกัน

เราทุกคนล้วนเคยมีต้นทุนจม ที่รอคอยความคาดหวังว่าจะได้ทุนกลับคืนมา เช่น ลงทุนผิดจังหวะ , ใช้จ่าย

ซื้อของไร้ประโยชน์ เป็นต้น การรอคอยบนพื้นฐานข้อผิดพลาดในอดีตไม่มีประโยชน์ต่อความสำเร็จใด ๆ

เ ก็ บ สิ่ ง ผิ ด พ ล าดในอดีตเป็นบทเรียน แล้วตัดสินใจ เลือกทำสิ่งปัจจุบันที่ก่อประโยชน์ที่ดีที่สุด

ในอนาคตย่อมดีกว่า

ดังนั้น ควรต้องคิดเสมอว่า พฤติกรรมตัวเราในตอนนี้ สามารถนำพาเราเข้าใกล้เป้าหมายได้จริงไหม ?

Load More Related Articles
Load More By Life
Load More In ข้อคิดดำเนินชีวิต
Comments are closed.

Check Also

ผู้ประเสริฐ ผู้ยอดเยี่ยม นี่แหละคือสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์สำหรับลูกๆ

ชาย ผ้ า ถุ ง ของแม่ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แม้ไม่ต้องปลุ … …