1 : ต้องรู้ทัน “ความคิด”
คนเรามักทุกข์เ พ ร า ะความคิดของตัวเอง ยิ่งคิดเยอะ คิดไกล ก็ยิ่งทุกข์ได้มาก ดังนั้นการกลับมารู้ทัน “ความคิด” จึงสำคัญ
เ พ ร า ะ ถ้ า รู้ ไ ม่ ทั น เราจะหลงเข้าไป ในความคิด เชื่อสิ่งที่คิดเป็นตุเป็นตะ กลายเป็นทาสของความคิดไป แต่ถ้ารู้ทัน
“ความคิด” เราจะแยกโลกของความจริงกับโลกที่ (แสนทุกข์) ออกจากความคิดที่ (เผลอ) ปรุงแต่งได้ค่ะ ใจจะเบาขึ้น
ความเป็นสมาธิจะเกิดขึ้นได้
” คนเรามักทุกข์เ พ ร า ะความคิดของตัวเอง
ยิ่งคิดเยอะ คิดไกล ก็ยิ่งทุกข์ได้มาก “
2 : ลงมือทำให้มากขึ้น
ขั้นตอนนี้สำคัญมากเช่นกัน เ พ ร า ะความคิดมักทำให้ฟุ้ง แต่ “การลงมือทำ” จะช่วย “ลดความฟุ้ง” เ พ ร า ะการลงมือทำจะ
ช่วยให้เห็นศักยภาพของตัวเองมากขึ้น เห็นโลกตามความเป็นจริงมากขึ้น ซึ่งโลกในความเป็นจริงอาจไม่ได้น่ากลัวเหมือน
ที่คิด ขั้นตอนนี้จะช่วยลดความกลัวจากความคิดวนเวียนไปได้อย่ างมาก
3 : รับรู้ลมหายใจเป็นระยะ
เป็นการดึงใจให้กลับมาทำงานสัมพันธ์กับร่างกาย เพิ่มความรู้เนื้อรู้ตัว เ พ ร า ะใจที่หลงไปอยู่ในความคิดมากจะลืมเนื้อลืมตัว
ยิ่งลืมเนื้อลืมตัวมากเท่าไหร่ จิตใจก็ยิ่งอ่อนแอ การกลับมารู้เนื้อรู้ตัวจะช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้จิตใจ เ พ ร า ะใจที่สงบเป็น
จิตใจที่มีกำลัง แต่ใจที่คิดกลัว กังวล ฟุ้งซ่านง่าย เป็นใจที่ไม่มีกำลัง
ก า ร สร้างกำลังให้จิตใจแข็งแรงด้วยการฝึกรู้เนื้อรู้ตัวจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะช่วยลดความคิดกังวล ฟุ้งซ่านได้เป็น
อย่ างดีค่ะ เมื่อทำ 3 อย่ าง ที่กล่าวมานี้เรื่อย ๆ คุณภาพจิตใจจะเปลี่ยนไปในทางที่ดี ลดความคิดกลัว กังวล ฟุ้งซ่านได้ค่ะ